วันอังคารที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การปฏิบัติตัวเมื่อป่วยเป็นโรคไต

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคไต

คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคไต

 1. กินอาหารโปรตีนต่ำ
หรืออาหารโปรตีนต่ำมาก ร่วมกับ
กรดอะมิโนจำเป็นโดยกินอาหารที่มี
โปรตีนคุณภาพสูง ซึ่งหมายถึงโปรตีน
ที่ได้จากเนื้อสัตว์ทุกชนิด จำนวน 0.6 กรัม
ของโปรตีน/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน

โดยไม่ต้องให้กรดอะมิโนจำเป็น
หรือกรดคีโต (Keto Acid) เสริมเพราะอาหาร
โปรตีนในขนาดดังกล่าวข้างต้น ให้กรดอะมิโน
จำเป็นในปริมาณที่พอเพียง กับความต้องการ
ของร่างกายอยู่แล้ว

ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยซึ่งมีน้ำหนักตัวเฉลี่ย
ประมาณ 50-60 กิโลกรัม ควรกินอาหาร
ที่มีปริมาณโปรตีนสูงประมาณ 30-60 กรัม/วัน
อาจจำกัดอาหารโปรตีน เพื่อชะลอการเสื่อม
หน้าที่ ของไตได้อีกวิธีหนึ่ง

โดยให้ผู้ป่วยกินอาหารโปรตีนต่ำมาก
(0.4 กรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม / วัน)
ร่วมกับกรดอะมิโนจำเป็น
หรืออนุพันธ์คีโต (Keto Analog)
ของกรดอะมิโนจำเป็น

ในกรณีผู้ป่วยมีน้ำหนักเฉลี่ย 50-60 กิโลกรัม
ควรกินโปรตีนประมาณ 20-25 กรัม / วัน
เสริมด้วยกรดอะมิโนจำเป็น
หรืออนุพันธ์ครีโตของกรดอะมิโนจำเป็น
10-12 กรัม / วัน

2. กินอาหารที่มีโคเลสเตอรอลต่ำ

โดยผู้ป่วยที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง ควรควบคุมปริมาณ
โคเลสเตอรอลในอาหารไม่ให้เกิน 300 มิลลิกรัม / วัน
ด้วยการจำกัดอาหาร ที่มีโคเลสเตอรอลมาก
เช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์ทุกชนิด และนม เป็นต้น

3. งดกินอาหารที่มีฟอสเฟตสูง
ฟอสเฟตมักพบในอาหารที่มีโปรตีนสูง
เช่น เนื้อสัตว์ ไข่แดง นม และเมล็ดพืชต่างๆ
เช่น ถั่วลิสง เม็ดทานตะวัน เม็ดมะม่วงหิมพานต์
เมล็ดอัลมอนด์ ควรหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว
พบว่าอาหารที่มีฟอสเฟตสูง จะเร่งการเสื่อม
ของโรคไตวายเรื้อรัง ให้รุนแรงมากขึ้น
และมีความรุนแรงของ การมีโปรตีนรั่ว
ทางปัสสาวะมากขึ้น นอกเหนือจากผลเสีย
ต่อระบบกระดูกดังกล่าว

4. ลดเกลือให้น้อยลง

ผู้ป่วย
อาการโรคไตวาย เรื้อรังที่ไม่มีอาการบวม 
โดยไม่ต้องถึงกับงดเกลือโดยสิ้นเชิง
แต่ไม่ควรกินเกลือเพื่อการปรุงรสเพิ่ม
ผู้ป่วยที่มีอาการบวมร่วมด้วย ควรจำกัดปริมาณ
เกลือที่กินต่อวันให้น้อยกว่า 3 กรัมของน้ำหนัก
เกลือแกง (เกลือโซเดียมคลอไรด์) ต่อวัน

ซึ่งทำได้โดยกินอาหารที่มีรสชาติจืด
งดอาหารที่มีปริมาณเกลือมาก ได้แก่
เนื้อสัตว์ทำเค็ม หรือหวานเค็ม เช่น เนื้อเค็ม
ปลาแห้ง กุ้งแห้ง รวมถึงหมูแฮม หมูเบคอน
ไส้กรอก ปลาริวกิว หมูสวรรค์ หมูหยอง
หมูแผ่น ปลาส้ม ปลาเจ่า เต้าเจี้ยว
งดอาหารบรรจุกระป๋อง เช่น ปลากระป๋อง 

เนื้อกระป๋องข้างต้น

5. ควบคุมอาหาร
ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังที่มีน้ำหนักเกิน
น้ำหนักจริงที่ควรเป็น (Ideal Weight for Height)
ในคนปกติ ควรจำกัดปริมาณแคลอรี
ให้พอเพียงในแต่ละวันเท่านั้น คือ ประมาณ
30-35 กิโลแคลอรี / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม / วัน


 และ อีกทางเลือกที่เราอยากแนะนำคือ
อาหารเสริม บำรุงไต ปู่จิงตัน
อาหารเสริมที่จะช่วยให้ท่านมีสุขภาพไตที่ดี
เพราะมีสมุนไพรจีนที่มีประโยชน์

มีสรรพคุณในการบำรุงไต
ได้แก่
เก๋ากี๋ เส็กตี้อึ้ง และพุทราจีน


ไต นั้นถือเป็นอวัยวะที่สำคัญมากในร่างกาย
โดยไตจะเริ่มมีภาวะอ่อนแอในช่วงอายุ
ประมาณ 30 ปีขึ้นไป โดยอาการเหล่านี้
อาจเป็นข้อบ่งชี้ของภาวะไตอ่อนแอเช่น
ปัสสาวะบ่อย นอนไม่ค่อยหลับ
ใบหน้าซีดเหลือง วิงเวียน ใจสั่น ระดูผิดปกติ
เลือดออกทางช่องคลอดปวดเมื่อยเอวเข่า
หูมีเสียงดัง ผมหงอกก่อนวัยอันควร
เบื่ออาหาร ท้องเดิน อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ถ่ายเหลว กระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย



บำรุงไตดูแลรักษาไตคุณ
ตั้งแต่วันนี้ อย่ารอจนสายเกินไป....


โรคไต ดูแลได้ด้วยสมุนไพร
ปู่จิงตัน : เกากี่ / เสกตี๋ / พุทธาจีน


สรรพคุณรวมของสมุนไพรทั้ง 3 ชนิด

บำรุงสารจำเป็น

(จิง) บำรุงเลือด บำรุงลมปราณ
(ชี่) บำรุงตับ บำรุงไต บำรุงสายตา รักษาเบาหวาน บำรุงยิน
(เพิ่มของเหลว เพิ่มสารน้ำ เพิ่มความชุ่มชื่น เพิ่มความเย็น)
บำรุงไขกระดูก บำรุงจงเจียว กล่อมประสาท
ปกป้องคุ้มครองลมปราณ ต้านทานโรค
(เจิ้งชี่) ป้องกันโรคโลหิตจาง ไขมันในเลือดสูง 

 1 กล่อง 60 แคปซูล
ขนาด 30 กรัม ราคา 900.- บาท (จัดส่งฟรี)


สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม...
นัชชชม  สุขปิยังคุ  (Apple)  
Tel.081-4583791 // Line. natchachom

(รับสมัครตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศ)

2 ความคิดเห็น:

  1. ได้ผลดีมั้ยคับท่าน

    ตอบลบ
  2. เป็นตัวบำรุงไตจ้าของแถม ยังช่วยเรื่องสมรรถภาพทางเพศของท่านชายได้ด้วยค่ะ แข็งแรงขึ้น

    ตอบลบ